สมบัติของธาตุและสารประกอบ
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 2 พันธะเคมี
พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึง พันธะระหว่างอะตอมที่อยู่ในสภาพอิออนที่มีประจุตรงกันข้ามกัน
ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน 11 ตัว
หรือมากกว่า จากอิเล็กตรอนวงนอกสุดของอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง
เพื่อให้จำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุด ครบออกเตต
ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างอะตอมของโลหะกับอโลหะ
โดยที่โลหะเป็นฝ่ายจ่ายอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุดให้กับอโลหะเนื่องจากโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำ
และอโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูง
ดังนั้นพันธะไอออนิกจึงเกิดขึ้นระหว่างโลหะกับอโลหะได้ดี กล่างคือ
อะตอมของโลหะให้เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อโลหะ แล้วเกิดเป็นไอออนบวกและไอออยลบของอโลหะ
เพื่อให้เวเลนต์อิเล็กตรอนเป็นแปด แบบก๊าซเฉื่อย
ส่วนอโลหะรับเวเลนต์อิเล็กตรอนมานั้นก็เพื่อปรับตัวเองให้เสถียรแบบก๊าซเฉื่อยเช่นกัน
ไอออนบวกกับไอออนลบจึงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้าต่างกันเกิดเป็นสารประกอบไอออนิก( Ionic
compuond ) ดังนี้....อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
อะตอม คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงสภาพความเป็นสสารอยู่ได้
แบบจำลองอะตอม ตามทฤษฏี มีอยู่ 5 แบบ คือ
1.แบบจำลองอะตอมของดอลตัล
สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดเรียกว่า
อะตอม ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก
2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
- ค้นพบอิเล็กตรอน
ที่ มีประจุไฟฟ้าลบ มีมวลประมาณ1/2000 ของมวลของ H
- โดยศึกษาพฤติกรรมของ
หลอดรังสีแคโทด ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
3. แบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
การกระเจิง (scattering) ของอนุภาค a โดยแผ่นทองคำบางๆ
รัทเทอร์ฟอร์ดพบว่ารังสีส่วนใหญ่ไม่เบี่ยงเบน
และส่วนน้อยที่เบี่ยงเบนนั้น ทำมุมเบี่ยงเบนใหญ่มาก
บางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย
จำนวนรังสีที่เบี่ยงเบนจะมากขึ้นถ้าความหนาแน่นของแผ่นโลหะเพิ่มขึ้นอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)